วันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2551

การสัมมนาเกี่ยวกับ Helvetica film

จากการจัดสัมมนาขึ้นในห้องเรียนวิชา Communication Design IV ของ Section 3421 เพื่อให้นิสิตนักศึกษามาแสดงความคิดเห็น และทำความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับหนังเรื่อง Helvetica ภายใต้หัวข้อที่ตัวเองสนใจและเลือกเนื้อหาที่ตัวเองสนใจจากหนังเรื่องนี้ นั้นมาสัมมนาร่วมกันและจากหัวข้อทางด้านล่างนี้เป็นบทสรุปการสัมมนาของนิสิตนักศึกษา (มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะศิลปกรรม สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ ) เพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์โครงการการออกแบบ

วันเสาร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2551

สัมมนาครั้งที่ 3

Raygun Magazine
& David Carson
David Carson
art director, graphic designer, film director และ photographer

ผลงานหนังสือ
- The End of Print : The Graphic Design of David Carson
- David Carson : 2nd sight
- Fotografiks
- Trek : David Carson,Recent work

ผู้มีอิทธิพลของ Graphic Designer จนถึงทุกวันนี้
Newsweek magazine ได้กล่าวว่าเขาเป็นผู้เปลี่ยนแปลงรูปโฉมของงานทางด้าน Graphic Design
เขาได้รับการยกย่องว่าเป็น “Single Handedly”
เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นนักออกแบบอัฉริยะ


Raygun Magazine


1.มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กวัยรุ่น กับ คำๆนี้ “the bibble of music+style”
2.Design Language ได้แก่ radical, subversive, revolutionary และ innovation
3.เนื้อหามีการวิเคราะห์เกี่ยวกับ การมีอยู่ของ media และโครงสร้างของงานออกแบบ
4.แบ่งทำงานกันเป็นหลายฝ่าย (many hands) เช่น type designers, graphic designers,photographers และ illustrators โดยให้ความอิสระ(freedom)ทางด้านการออกแบบ
5.ลักษณะงานเป็นแบบ Post-Modern



Raygun Magazine& David Carson


1. คำว่า“the bibble of music+style” เป็นคำที่ดึงดูดใจต่อ David Carsonสำหรับทำงานออกแบบ
2. David Carson จัดการกับงานออกแบบในลักษณะ fully-formedซึ่งมีรูปแบบ chaotic, abstract style

3. The graphic design เป็นกุญแจตัวสำคัญที่ท้าทายความคิดสำหรับการอ่านได้อย่างชัดเจนและการตั้งคำถามกับชิ้นงานออกแบบ

เอมี่


Michael Bierut


เขาเป็น Graphic designer

ประวัติ
เกิดในค.ศ.1957ในคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ

เรียน
Graphic design ที่มหาวิทยาลัยซินซินนาตี้
Architect ศิลปะและการวางแผน

ทำงาน
-ค.ศ.1990 เข้าร่วมที่เพนตาแกรม
-เป็นบรรณาธิการร่วมของtree looking Closer graphic design anthologies

-ก่อตั้ง บลอค Design Observer กับ ริค พอยเนอร์ วิลเลี่ยม เดรนเทล และเจสสิก้า เฮลแฟนด์ -งานของเขาเป็นตัวอย่างในคอลเลคชั่นถาวรของพิพิธภัณฑ์ ,Metropolitan Museum of art ในNew York และ the Musee des Arts Decoratifs มอนต์รีล
-ค.ศ.1988-1990 เป็นประธานบริษัทของ The New York Chapter of the America Institute of Graphic Arts(AIGA)
ค.ศ.1989 เป็น the Alliance Graphique International
ค.ศ.2003 เป็นผู้กำกับศิลป์ Club Hall of Fame



และยังมีงานประเภทอื่นๆอีกมากมาย



ต่อ

Stefan Sagmeister

- ในความคิดของสเตฟาน แซกไมสเตอร์ กราฟฟิกดีไซน์ คือภาษาพิเศษที่มีพลังดึงดูดผู้คนได้ในเวลาอันสั้น ฉะนั้นเขาจึงให้ความสำคัญกับทุกรายละเอียดของการออกแบบ ตั้งแต่ความหมายไปจนถึงรูปแบบและวิธีการนำเสนอ

- ประสบการณ์และผลงานในชีวิตของเขา

1. การออกแบบเพื่องานดนตรี

2 การออกแบบเพื่อสังคม

3. การออกแบบสำหรับองค์กร

4. การออกแบบให้ศิลปิน

5. ออกแบบอย่างนักประพันธ์

- ในช่วงก่อนปี ค.ศ. 2000 แซกไมสเตอร์ อิงค์ ทำงานออกแบบให้กับอุตสาหกรรมดนตร�เป็นหลัก - ในช่วงใกล้สิ้นสหัสวรรษที่ผ่านมา แซกไมสเตอร์หันมาให้ความสนใจกับการออกแบบเพื่อสังคมเขาเลือกที่จะหันหลังให้ธุรกิจและอุทิศเวลาหนึ่งปีเต็ม (ปี ค.ศ. 2000) ให้กับการทดลองด้านการออกแบบของตนเองและเพื่อนๆ

- หลังจากปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา แซกไมสเตอร์กลับเข้าสู่โลกธุรกิจ และแซกไมสเตอร์ อิงค์ ก็กลับสู่ความนิยมอีกครั้ง - ในช่วงหลัง ๆ เขาใช้ถ้อยคำและภาษาในงานออกแบบมากข�้นแซกไมสเตอร์จดบันทึกเรื่่องราวเพื่อย้ำเตือนสิ่งที่คิด และอยากทำอยู่เสมอ ซึ่งข้อความในสมุดบันทึกเหล่านี้เองที่กลายมาเป็นผลงานออกแบบชั้นโบว์แดงเขาในเวลาต่อมา

- Stefan Sagmeister เกิดในปี 1962 ที่เมือง Bregenz ประเทศออสเตรีย ครอบครัว Stefan Sagmeister ทำธุรกิจเกี่ยวกับการออกแบบแฟชั่น

- Stefan Sagmeister ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนประจำท้องถิ่นที่เกี่ยวกับวิศวกรรม จากนั้นในปี 1981 Stefan Sagmeister ได้ย้ายไปเรียนกราฟฟิกดีไซน์ที่ Vienna University of Applied Arts จบการศึกษาปริญญาปีชั้น 1 ในปี 1985

- ต่อมาเขาได้เริ่มต้นใช้ชีวีตที่ New York - ในปี 1987 เขาได้ในทุนการศึกษาเพื่อเข้าไปเรียนที่ Pratt Institute และเขาได้กลับบ้านเกิดที่Vienna อีกครั้งเพื่อรับใช้ชาติเขาได้เกณฑ์ทหารและได้ทำงานในเขตผู้ลี้ภัยและได้ออกแบบโปสเตอร์สำหรับงานเทศกาล Nickelsdorf jazz - ย้ายไปอยู่ที่ Hongkong ในปี 1991 เพื่อเข้าไปทำงานในบริษัทของ Leo Burnett

- ในปี1992 ได้มีคนมาโต้วิภาควิจารณ์งานประกวดโปสเตอร์ของเขาที่เชื่อว่า bum-bearing 4As


- ในปี 1993 เขาได้กลับไปที่ New York อีกครั้ง เพื่อทำงานกับ Tibor Kalman ที่บริษัทM&Co หลังจากนั้นอีก6เดือนต่อมา Kalman ได้ปิดบริษัทM&Co ลงไป แต่เขาก็ได้เปิดสตูดิโอของตัวเองขึ้นมา- ในปี 1994 เขาได้คิด Identity ให้บริษัทลูกพี่ลูกน้องของเขาที่ชื่่อ Martin’s jeans stores - เขาได้เสนอชื่อเข้าชิงตำแหน่ง Grammy Award จากปกอัลบั้ม H. P. Zinker’s Mountains of Madness -ในปี1995 ก็ได้ร่วมมือกับ David Byrne ซึ่่งได้ออกแบบปกอัลบั้มของ David Byrne - ในปี 1996 เขาก็เริ่่มวางแผนทำปกอัลบั้ม set the Twilight Reeling ให้กับ Lou Reedโดยการทำโปสเตอร์ซึ่่งเขียนเนื้อร้องที่แสดงถึงบุคลิกของวง ผ่านใบหน้าของนักร้อง - นอกจากนั้นในปีนี้เขาได้รับชื่่อเสียงคู่กับงานโปสเตอร์ของ AIGA ที่มีชื่่อว่า Fresh Dialogue talks - ในปี1997เขาก็ได้ออกแบบโปสเตอร์ของ AIGA ที่มีชื่่อว่า Headless Chickenและเขายังได้ออกแบบกราฟฟิกสำหรับ David Byrne’s Feelings และ Rolling Stones’ Bridgesto Babylon


- ในปี1999 Sagmeister ได้เอามีดสลักข้อความทั่วตัวของเขา สำหรับบรรยายใน AIGA ที่Cranbrook ใกล้กับ Detroit เพื่อสื่อถึงตัวตน และการทุ่มเททำงานของเขา

- ในปี 2000 Sagmeister ได้หยุดทำงานในปีนี้ เพื่อวางแผนทำงานทดลองงานต่างๆ และในปี2001 เขาก็ได้เปิดสตูดิโอของเขาอีกครั้ง เพื่อจัดพิมพ์หนังสือของเขา ที่มีชื่่อว่า “Made YouLook”ซึ่่งเป็นหนังสือที่ผู้คนต่างกล่าวขวัญกันอย่างแพร่หลาย


- ในปี 2003 เขาได้ออกแบบโปสเตอร์ Adobe Design Achievement Awardsโดยการนำถ้วยกาแฟมาวางเป็นรูปถ้วยรางวัล

- ในปี 2003 เขายังได้ทำโปสเตอร์ On A Bingeโดยใช้ตัวเองเป็นสื่อวิพากษ์บทบาทของดีไซเนอร์ และการบร�โภคอย่างไม่ลืมหูลืมตา


- ในปี 2004 เขาได้ไปเป็นวิทยากรที่ Berlin และเขายังได้เผยความลับของ “Trying to look good limits my life” ซึ่่งเป็นเรื่่องราวในภาพต่างๆ

- ในปี 2005 เขาได้ออกแบบ Boxed Set ที่พูดในหัวเรื่่อง Once in a Lifetime ซึ่่งได้รับรางวัลจาก Grammy Award และปีนี้เขาก็ไดเออกแบบ กล่องใส่โปสการ์ดให้ the guggenheim museum ที่ Berlin ซึ่่งแฝงคติถึงความทะนงตัวโดยการตัวโดยการติดฟอยด์สะท้อนที่ด้านขวาเพื่อสะท้อนอีกครั้่งหนึ่งของคำว่า vanity
- มีงานอื่นๆ ที่ stefan ไม่ต้องใช้ตัวตนตัวเองมาแสดงในผลงานแต่เป็นงานที่ดี และมีผลกระทบต่อสังคม ซึ่่งเป็นงานที่ทำเพื่อแสดงความห่วงใยต่อสังคม ซึ่่งว่าจ้างโดย เบน โคห์น กับนักธุรกิจชั้นนำคนอื่นๆ ซึ่่งตั้งเป้าหมายให้รัฐบาลลดงบประมาณการทหาร 15% แล้วนำไปเพิ่มให้กับงบการศึกษา และสาธารณสุข

เต้


Josef Muller Brockman




Gotham Typeface
ประวัติ Gotham TypefaceGotham typeface นั้นเป็นตัวอักษรเรขาคณิตแบบ sans serif ซึ่งถูกออกแบบขึ้นในปี ค.ศ. 2000โดยนักออกแบบตัวอักษรชาวอเมริกันที่ชื่อ Tobias Frere-Jones รูปแบบตัวอักษรของ Gotham นั้นได้รับแรงบันดาลใจจากแผ่นป้ายสัญลักษณ์ ที่ได้รับความนิยมในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 (Frere-Jones ได้ให้เครดิตแก่สัญลักษณ์ที่ท่ารถในเมืองนิวยอร์กที่อยู่บนถนน Eight Avenue ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้แก่โปรเจค Gotham) Gotham นั้นมีรูปแบบเรขาคณิตที่ไม่มีระเบียบ และมีความสูงของ x - hight ที่มากพอ ที่ทำให้สามารถอ่านได้ง่ายแม้จะมีขนาดเล็กมาก กลุ่มอักษร Gotham นั้นมีน้ำหนักและความกว้างที่ต่างกัน รวมถึงยังมีแบบเอียงด้วย

Gotham นั้นก็ได้ถูกออกแบบมาให้รองรับขนาดหลายขนาดเช่นกัน ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่เหมาะสมสำหรับแผ่นป้ายนอกอาคารเป็นอย่างมาก ซึ่งหมายถึงการอ่านง่ายจากระยะทางไกล และมีฟีเจอร์ที่แข็งแกร่งพอที่จะทำให้ดูโดดเด่น ด้วยเหตุนี้ Gotham จึงเหมาะสำหรับการใช้แบบตัวอักษรขนาดเล็กด้วยเช่นกัน ตัวอักษรทึบ (bold) และอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ที่ดูไม่งุนงงนั้นก็แยกออกจากกันได้ง่าย และความสูง x – hight ที่มีมากของตัวอักษรนั้นก็ทำให้มันสามารถถูกใช้ในขนาดที่เล็กมากกว่าที่ถูกคาดการณ์ไว้ได้อย่างมาก อย่างไรก็ดี Gotham นั้นก็เป็นตัวอักษรที่ใช้ได้จริง รูปทรงเรขาคณิตที่เป็นระเบียบของช่างเขียนแบบจึงสู้ไม่ได้กับความต้องการของความสมส่วนและสี ดังนั้นตัวอักษรที่ไม่สามารถถูกพัฒนาได้โดยการใช้กฎคณิตศาสตร์จึงได้ถูกร่างออกมาโดยไม่ต้องใช้คณิตศาสตร์เลยGotham Typeface ได้กลายเป็นตัวอักษรที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายในการตีพิมพ์และงานโฆษณา และตัวอักษรนี้ยังได้ถูกแสดงตัวบนฐานของตึก Freedom Tower ซึ่งจะถูกสร้างขึ้นมาแทนตึก World Trade Center ที่ถล่มไปอีกด้วย

Tobias Frere-Jones.Principal, Director of Typography
หลังจากที่ได้รับ BFA ในปี 1992 จาก Rhode Island School of Design Frere-Jones ก็ได้เข้าทำงานกับ Font Bureau Inc. ที่บอสตันระหว่างระยะเวลาเจ็ดปีที่เขาทำงานในตำแหน่งนักออกแบบอาวุโส เขาได้สร้างตัวอักษรจำนวนหนึ่ง ซึ่งเป็นตัวอักษรที่โด่งดังที่สุดของFont Bureau รวมถึงตัวอักษร Interstate และ Poynter Oldstyle & Gothic เขาได้เข้าทำงานที่โรงเรียนศิลปะแห่งมหาวิทยาลัยเยลในปี 1996ซึ่งที่นี่ เขาได้ทำการสอนการออกแบบตัวอักษรสำหรับนิสิตปริญญาโท ในปี 1999 เขาลาออกจาก Font Bureau และกลับไปที่นิวยอร์กและได้เริ่มทำงานร่วมกับ Jonathan Hoefler ตั้งแต่ที่ทำงานร่วมกัน เขาทั้งสองได้สร้างสรรค์โปรเจคงานให้กับ The Wall Street Journal,Martha Stewart Living, Nike, Pentagram, GQ, Esquire, The New Times, Business 2.0, และ The New York Times Magazineเขาได้ทำการออกแบบตัวอักษรมากกว่า 500 แบบให้แก่สำนักพิมพ์ ลูกค้าขาจร และโครงการวิจัยต่างๆ ลูกค้าของเขาคือ The BostonGlobe, The New York Times, The Cooper-Hewitt Museum, The Whitney Museum, The American Institute of Graphic Arts Journal,และ Neville Brody เขาก็ทำการสอนที่ Rhode Island School of Design, Yale School of Art, Pratt Institute, Royal College of Art,และ Universidad de las Americas ด้วยเช่นกัน งานของเขาก็ได้ถูกนำเสนอที่ How, ID, Page, และ Print และงานของเขาก็ยังอยู่ในคอลเลคชั่นถาวรของพิพิธภัณฑ์ Victoria & Albert Museum ในกรุงลอนดอน ในปี 2006 Frer-Jones ก็ได้กลายเป็นชาวอเมริกันคนแรก ที่ได้รับรางวัล Gerrit Noordzij ซึ่งเป็นรางวัลของ the Royal Academy of The Hague เพื่อเป็นเกียรติแก่การอุทิศตนของเขาให้แก่การออกแบบการพิมพ์ และการสอนการออกแบบตัวอักษร


Gotham Family.

ตัวอย่างของ Gotham Typeface ในสื่อต่างๆ

Steel signage.

Neon channel letters.

Truck lettering.

Cast bronze.

แคมเปนจ์การหาเสียงของ Barack Obama นั้นก็ใช้ตัวอักษร Gotham อย่างสม่ำเสมอ Brian Collins นักออกแบบกราฟฟิก ก็มองว่าการเลือกใช้ตัวอักษรนี้เพื่อโปรโมตธีม “การเปลี่ยนแปลง” นั้นก็เหมาะสมเป็นอย่างยิ่ง

หมิว

GRID


พูดถึงในยุโรปเมื่อประมาณ ค.ศ. 1450 มีช่างพิมพ์ได้เห็นถึงปัญหา ของการพิมพ์ จากนั้น ได้มีการคิดระบบ Grid เพื่อให้การจัดหน้าง่ายขึ้น นี่คือหนังสือหน้าคู่เล่มแรกที่ใช้ระบบกริด ซึ่งหนังสือสือเล่มนี้เป็นหนังสือ ที่มีหน้าซ้ายและขวาใช้ระบบ Grid แบบเดียวกัน และหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีนักออกแบบกลุ่มหนึ่งซึ่งได้อิทธิพลแนวคิด ใหม่เริ่มสงสัยในความเกี่่ยวข้องของโครงสร้าง Grid แบบทั่วไปหลังจากนั้น พวกนักออกแบบกลุ่มนี้ก็จึงสร้างระบบ Grid ที่ยืดยุ่น ที่สามารถ ช่วย นักออกแบบให้จัดวางหน้ากระดาษลงตัว

ต่อมาช่วงกลางๆ ปี ค.ศ.1970 ระบบกริดเริ่มเป็นมารตฐานของนักออกแบบ ในยุโรปและช่วงต้นๆปี ค.ศ.1980 มีการเริ่มคิดระบบ Grid แบบใหม่ นักออกแบบเริ่มมีการทดลองเกี่ยวกับ Grid แบบใหม่และ ก็มีกระแสต่อต้าน เกี่ยวกับ Grid และหลังจากนั้นนักออกแบบก็เริ่มไม่ใช้ Grid ในการออกแบบ ต่อมาก็มีแนวคิด Postmodernism



1 column 4 column 6 column


7 column 9 column 12 column
หนุ่ย

LINOTYPE

วันที่Ottmar Mergenthaler ได้แสดงเครื่อง Linecasting(แม่พิมสำหรับหล่อ) เครื่องแรกที่New York ในปี1886 เขาพูดไว้ว่า “you’ve cast a line of type!” (ถึงเวลาบอกลาการใช้เส้นในตัวอักษรได้แล้ว) เป็นจุดเริ่มต้นเรื่องราวความสำเร็จของ Linotype สี่ปีต่อมา นักประดิษฐ์ ผู้นี้จึงเริ่มก่อตั้งบริษัท Mergenthaler Linotype Company ซึ่งเขาไม่รู้เลยว่าหลังจากนั้นLinotypeจะไดั้รับความประสบสำเร็จอย่างมาก ทำให้ผู้คนทั้งหลายต้องการที่จะเดินตามรอยเท้าของเขา วันนี้ Linotype เป็นหนึ่งในแบบอักษรที่มีใช้มากมายทั่วโลก เปรียบเสมือน Linotype นั้นเป็นประตูชัยสำหรับการช่วยเหลือเหล่านักออกแบบ และTypographers ช่วยให้ทั่วโลกได้รับรู้ข่าวสารวิธีการและเพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิด ในTypography ด้วยความปราถนาอย่างแรงกล้าของเหล่าคณะผู้จัดทำ Linotype ที่ต้องการให้สิ่งเหล้านี้เป็นจริง


The Library

กับการพัฒนาการของการประดิษฐ์เครื่องทำความร้อนโลหะ ทำให้แบบอักษรต่างๆได้ออกใช้นั้น เป็นเครื่องมือที่ก่อให้เกิดงานงานกราฟฟิค และการสื่อสาร ในทุกๆวันนี้ฟอนต์ต่างๆที่สำคัญและเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกนั้นมีอิทธิพลของLinotype Library อยู่ด้วย แบบอักษรที่เป็นต้นฉบับ ซึ่งคุณสามารถมองเห็นได้บนคอมพิวเตอร์ของคุณ ไม่ว่าจะในลักษณะOpenType หรือ PostScriptล้วนได้รับการอนุญาตจาก Library นี้ทั้งนั้น ฟอนต์ที่เราใช้หลายๆฟอนต์ทุกวันนี้ยังมีเหล่านักออกแบบที่มีชื่อเสียงหลายคน ที่ยึด Linotype Library เป็นหลักในการออกแบบ และนำมาประยุกต์ใช้กับการออกแบบสมัยใหม่อีกด้วย

Mission Statement แนวความคิดของทีมงานในปัจจุบัน ซึ่งในปัจจุบันนี้การผลิตของLinotype นั้นจะผลิตด้วยแบบอักษรที่มีคุณภาพสูง รวมทั้งวิธีการที่เก็บอย่างถูกต้อง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และค้นหาทางใหม่ๆอยู่ต่อไป เพื่อก้าวไปสู่การออกแบบสำหรับสื่อต่างๆที่จะสามารถถ่ายถอดงานออกมาได้ดั่งใจแก่ผู้คนทั่วโลก
History LINOTYPE
Linotype เป็นที่ยึดถือใช้กันมาเกือบ 120ปีแล้ว ชื่อเสียงที่ได้รับความนิยม ก็คือ Linotype-Hell AG,Stempel AG โรงพิม Haas’sche Schriftgießerei and Deberny & Peignot เป็นเสมือนรากของ Linotype Ottmar Mergenthaler ได้สร้างประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการสร้างเครื่องเรียงตัวอักษรชนิดนี้ เขาค้นคว้าอย่างมากมายจนกว่าจะพัฒนามาเป็นเครื่อง Linotype นี้ได้ ซึ่งบริษัทหนังสือพิมพ์หลักๆทั่วโลกได้รับเข้ามาใช้อย่างรวดเร็ว จึงเป็นดั่งLinotype ที่นำการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆในหนังสือพิมพ์ หนังสือ สื่อโฆษณา และวรรณกรรมต่างๆ จากการประดิษฐ์นี้ทำให้ Ottmar Mergenthaler เป็นผู้ก่อตั้ง Linotype group

1866 Ottmar Mergenthaler เกิดที่ Wurttemberg,Germany May 11th
1854 ผลิตเครื่อง linecasting แรกของโลกในสหรัฐอเมริกา เครื่องนี้ถูกเรียกว่า Blower และต่อมาภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น Linotype ย่อมาจาก Line of Type
1889 Linotype ไดี้รับรางวัล Grand Prix ที่งานWorld Expo ในปารีส
1890 บริษัท Mergenthaler Linotype ก่อตั้งใน Brooklyn,NewYork USA Mergenthaler Linotype & Machinery Ltd. ก่อตั้งที่ Manchester ประเทศ อังกฤษ
1892 เครื่องLinotype จำนวน1000เครื่องเริ่มผลิตในสหรัฐอเมริกา The Rudhard’sche โรงหล่อใน Offenbach. ถูกซื้อโดย Karl Klingspor.
1894 ที่Amsterdam Linotypeเครื่องแรกในยุโรปเริ่มใช้กับการตั้งค่าหนังสือพิมพ์
1895 ก่อตั้ง D.stempel
1896 Mergenthaler Casting Machines ก่อตั้งในเบอร์ลิน เยอรมัน
1898 ในฝรั่งเศสเริ่มใช้เครื่อง Linotype เข้ามาใช้ในการทำหนังสือพิมพ์
1899 Ottmar Mergenthaler ตายขณะอายุ 45 ในBaltimore,USA

1866 Ottmar Mergenthaler เกิดที่ Wurttemberg,Germany May 11th 1854 ผลิตเครื่อง linecasting แรกของโลกในสหรัฐอเมริกา เครื่องนี้ถูกเรียกว่า Blower และต่อมาภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็น Linotype ย่อมาจาก Line of Type
1889 Linotype ไดี้รับรางวัล Grand Prix ที่งานWorld Expo ในปารีส
1890 บริษัท Mergenthaler Linotype ก่อตั้งใน Brooklyn,NewYork USA Mergenthaler Linotype & Machinery Ltd. ก่อตั้งที่ Manchester ประเทศ อังกฤษ
1892 เครื่องLinotype จำนวน1000เครื่องเริ่มผลิตในสหรัฐอเมริกา The Rudhard’sche โรงหล่อใน Offenbach. ถูกซื้อโดย Karl Klingspor.
1894 ที่Amsterdam Linotypeเครื่องแรกในยุโรปเริ่มใช้กับการตั้งค่าหนังสือพิมพ์
1895 ก่อตั้ง D.stempel
1896 Mergenthaler Casting Machines ก่อตั้งในเบอร์ลิน เยอรมัน
1898 ในฝรั่งเศสเริ่มใช้เครื่อง Linotype เข้ามาใช้ในการทำหนังสือพิมพ์
1899 Ottmar Mergenthaler ตายขณะอายุ 45 ในBaltimore,USA

เบ็น

Serif and Sans Serif

Humanistor OLD STYLE ยุคแรกเริ่มของตัวพิมพ์ที่เริ่มสร้างบทบาทของตัวพิมพ์ขึ้นมา โดยยุคนี้เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1966 (ยุคฟื้นฟูศิลปะและวิทยาการเรอนาซองส์) ซึ่งตัวอักษรที่โด่งดัง และเป็นตัวแทนของยุคนี้ก็คือ Garamond นั่นเอง โดยที่ตัวอักษรในยุคนี้จะมีขา เส้นตีน หรือว่าเชิงอยู่ ที่เรียกกันว่า Serif
ในยุคต่อมาคือ TRANSITIONAL ตัวอักษรได้มีการพัฒนาขึ้นมาจากสร้าง Contrastกับระหว่างเส้นตั้งและนอน ลดเส้นและส่วนที่ไม่สำคัญลงไป แต่ยังคงไว้ด้วยเส้นเชิง หรือ Serif โดยตัวพิมพ์ที่เป็นตัวแทนของยุคนี้ชื่อ Baskerville

MODERN ยุคที่ตัวอักษรพัฒนามาถึงที่สุดแห่งความ Contast จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าตัวอักษรในยุคนี้ได้มีการพัฒนาอย่างชัด คือเส้นตั้ง เส้นเอน และเส้นนอนจะมีความ
แต่ต่างกันอย่างมาก จนสังเกตุได้ชัด ซึ่งเส้นที่บางเราจะเรียกว่า Hairline โดยชื่อตัวอักษรที่เป็นตัวแทนแห่งยุคนี้คือ Bodoni

EGYPTIAN หรือ SLAB SERIF เป็นยุคที่การค้าขายเจริญ การพิมพ์ก็เริ่มมีบทบาทมากขึ้นเรื่อย และตัวอักษรในยุคนี้ก็มีเอกลักษณ์อย่างชัดเจนก็คือ เส้นเชิงหรือ Serif
นั้น มีขนาดเท่ากับเส้นแนวตั้งหรือแนวนอนของตัวอักษร ซึ่งตัวอักษรที่เป็นตัวแทนแห่งยุคนี้คือ Rockwell

และในยุคสุดท้ายถึงปัจจุบัน ก็ได้มีการพัฒนาตัวอักษรมาจนเป็นที่เด่นชัดกที่สุดก็คือ SANS SERIF ซึ่งในยุคนี้ตัวอักษรจะไม่มีเชิง เป็นการลดทอนความไม่จำเป็นออกไปจนถึงที่สุด โดยชื่อตัวอักษรที่เป็นตัวแทนแห่งยุคนี้มีมากมาย แต่เท่าที่โด่งดังที่สุดก็คือHelvetica ซึ่งเป็นตัวอักษรที่มีผลกระทบต่องานออกแบบมาที่สุดในช่วงทศวรรษนึงเลยทีเดียว
รูปแบบตัวอักษรอังกฤษ 1 แบบ Old Style หรือ แบบ Roman
ลักษณะเด่น
-ความแตกต่างระหว่างความหนาและบางของเส้นอักษรอยู่ในระดับปานกลางอักษรมีความหนาไม่ต่างกันมากนัก
-นํ้าหนักโดยส่วนรวมของตัวอักษรอยู่ในระดับปานกลาง
-ยอดบนสุดของตัวอักษรนำ(Capital) จะตํ่ากว่ายอดปลายสุดหางบน(Ascender)
-มีเส้นยึนของฐานและปลายตัวอักษรที่เรียกว่าเชิง (Serif)ซึ่งได้มาจากวิธีการเขียนด้วยปากกาขนนกหรือปากกาปลายแบน
2 แบบTransitonal
ลักษณะเด่น
-แบบดัดแปลงที่พัฒนามาจาก Old Styleไม่ได้อาศัยการเลียนแบบจากการเขียนอย่างเดียวแต่ได้อาศัยเครื่องมือทางการเขียนแบบด้วย
-เส้นแกนหลัก (Stress) อยู่ในแนวตั้งฉากหรือเกือบตั้งฉาก
-เริ่มมีความแตกต่าง Contrast ระหว่างความหนาและบางของเส้นอักษร
-เชิง(Serif)เริ่มมีความชัดและมีลักษณะเป็นมุมเหลืี่ยมบางๆ
3 แบบModern
ลักษณะเด่น
-เป็นแบบตัวดักษรสมัยใหม่
-การอกแบบอักษรมีการนำเครื่องมือเครื่องเขียนเข้ามาช่วย
-เส้นแกนหลัก(Stress)อยู่ในแนวตั้งฉาก
-เชิงอักษร (Serif)จะเป็นเส้นตรงในแนวนอน
-เชิงอักษร (Serif)จะมีความบางมาก ความหนาบางก็จะแตกต่างกันอย่าชัดเจน
-ขานของตัวอักษรค่อนข้าแคบ
4 แบบSlab Serif
ลักษณะเด่น
-เส้นอักษรหนาและมีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยระหว่างความหนาและบางของเส้นอักษร
-สัดส่วนกว้างกว่าแบบอื่นๆ
-ขนาดตัวอักษร lowercase สูงใหญ่
-เชิง(Serif)มีความหนาเป็นพิเศษมากกว่าแบบอื่นๆและออกแบบลักษณะของมุมเหลี่ยมที่สูงและหนา5แบบ Sans SerifหรือGothic
ลักษณะเด่น
-รูปแบบเรียบง่าย นิยมใช้อย่างกว้างขวาง
-ได้ตัด Serif ออกไปโดยสิ้นเชิง

ตี๋